หัวหน้าโครงการ ในอดีต

หัวหน้าโครงการ


1.  การคัดเลือก พัฒนาเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์และชีวภัณฑ์ของเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ เพื่อควบคุมโรคข้าวในการผลิตข้าวอินทรีย์

ทุนอุดหนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2549-2551 (จำนวน 1,200,000 บาท)

2.  การพัฒนาสารสกัดชีวภาพจากเชื้อราไตรโคเดอร์มาเพื่อใช้ควบคุมโรคแอนแทรคโนสที่มีสาเหตุจากเชื้อราคอลเลโตทริคัม

ทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2549-2551  (จำนวน 750,000 บาท)

3.  การพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้ชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์มา

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับ บริษัท ซี. พี. เค. แพลนเตชั่น จำกัด พฤษภาคม 2550 – พฤศจิกายน 2550

4.  การใช้รังสีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเชื้อราไตรโคเดอร์มาในการควบคุมโรคพืช

ทุนอุดหนุนจากสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ  พ.ศ.  2548-2549 (จำนวน 350,000 บาท)

5.   การผลิตเชื้อราปฏิปักษ์ไตรโคเดอร์มาเพื่อใช้ทดแทนสารเคมีในการควบคุมโรคของพืช ในระบบ GAP และเกษตรอินทรีย์

โครงการพัฒนาวิชาการยุทธศาสตร์จังหวัดนครปฐม พ.ศ. 2548  (จำนวน 1,200,000 บาท)

6.  การวิจัยการจัดการโรคใบไหม้ของมะเขือเทศโดยวิธีผสมผสาน (หัวหน้าโครงการย่อย)

ทุนอุดหนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2547-2548  (จำนวนเงิน 125,000 บาท)

7.  การวิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช

ทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2545-2547 (จำนวน 1,050,000 บาท)

8.  การวิจัยเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชในดินโดยชีววิธี

ทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2545-2548 (จำนวน 600,000 บาท)

9.  การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการควบคุมโรครากเน่าและโคนเน่าของพืชผัก โดยการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์และการเขตกรรม

พ.ศ. 2543-2544  (จำนวน 180,000 บาท)

10.  การพัฒนา Gliocladium virens เป็นเชื้อราปฏิปักษ์ที่ใช้ควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืชโดยชีววิธี

ทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2542-2545  (จำนวน   200,000 บาท)

11.  การเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของกล้าพืชที่เกิดจากเชื้อราPythium aphanidermatum ด้วยการใช้เชื้อรา Trichoderma หลาย species

ทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พ.ศ. 2543 – 2545 (จำนวน 1,540,000 บาท)

12.  การพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้ชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์มา

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับบริษัทยูนิซีดส์ จำกัด สิงหาคม 2548 – เมษายน 2549 (จำนวน 100,000 บาท)

13.  การพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้ชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์มา

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับบริษัทยูนิซีดส์ จำกัด มีนาคม 2547 – กันยายน 2547 (จำนวน 150,000 บาท)

14.  การพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้ชีวภัณฑ์ไตรโคเดอร์มา

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับบริษัทยูนิซีดส์ จำกัด มกราคม 2546 – กันยายน 2546 (จำนวน 180,000 บาท)

15.  การพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาสูตรปรับปรุงใหม่

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับบริษัทยูนิซีดส์ จำกัด สิงหาคม 2543 – พฤษภาคม 2544 (จำนวน 300,000 บาท)

16.  การพัฒนาการผลิตและการประยุกต์ใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาสูตรใหม่

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับบริษัทยูนิซีดส์ จำกัด สิงหาคม 2542 – กรกฎาคม 2543 (จำนวน 300,000 บาท)

17.  การถ่ายทอดเทคโนโลยีชีวภาพและชีวภัณฑ์ในการจัดการศัตรูพืชเพื่อทดแทนสารเคมีสังเคราะห์

โครงการเกษตรกู้ชาติ (ทุนจากงบประมาณปี 2541-2545 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์–งานบริการแก่ชุมชน) (จำนวน 4,400,000 บาท)

18.  การพัฒนาการผลิตและทดสอบสูตรสำเร็จชนิดใหม่ของเชื้อราไตรโคเดอร์มา

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับบริษัทยูนิซีดส์ จำกัด สิงหาคม 2541 – พฤษภาคม 2542 (จำนวน 300,000 บาท)

19.  การตรวจสอบคุณภาพและการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มา

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับบริษัทยูนิซีดส์ จำกัด กันยายน 2540 – กุมภาพันธ์ 2541 (จำนวน 500,000 บาท)

20.  การพัฒนาการผลิตและวิธีการใช้ชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มาเพื่อควบคุมโรคพืช

โครงการวิจัยที่ได้รับการสนับสนุนจากบริษัทยูนิซีดส์  จำกัด  ระหว่าง มิถุนายน 2538 – พฤษภาคม  2540 (จำนวน 1,600,000 บาท)

21.  การใช้นิวเคลียร์เทคนิคพัฒนากากตะกอนไปเป็นทรัพยากรใหม่ : การผลิตผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อควบคุมโรคพืชจากกากตะกอน

ทุนสนับสนุนจากสำนักงานพลังงานปรมาณูเพื่อสันติ พ.ศ. 2538 (จำนวน 90,000 บาท)

22.  Mass production and application of Trichoderma  species for biocontrol of Sclerotium rolfsii

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช. หรือ NSTDA) ปี พ.ศ. 2535-2538 (จำนวน 5,800,000 บาท)

23.  การควบคุมเชื้อรา Phytophthora spp. โดยวิธีประสานการใช้จุลินทรีย์ ปุ๋ยอินทรีย์และสารเคมี      

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ  ปี พ.ศ. 2533-2539 (จำนวน 357,800 บาท)

24.  โรคของถั่วเหลืองฝักสดและการบริหารโรค 

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากศูนย์วิจัย และพัฒนาพืชผักเขตร้อน  (Tropical Vegetable Research Center) ปี พ.ศ. 2533-2539 (จำนวน 447,000 บาท)

25.  การควบคุมโรคเหี่ยวฟิวซาเรียมของสับปะรดโดยชีววิธี 

โครงการพัฒนาวิชาการร่วมกับคณะนักวิจัยของภาควิชาพืชไร่-นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และบริษัทอาหารสยามจำกัด 2533-2535

26.  การควบคุมโรคต้นแห้งของข้าวบาร์เลย์โดยชีววิธี

โครงการร่วมมือกับบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่ จำกัด  และหน่วยงานราชการต่างๆ ปี พ.ศ. 2531-2537

27.  Biological control of tomato root and stem rot caused by Sclerotium  rolfsii Sacc. 

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากโครงการความร่วมมือเพื่อพัฒนางานวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และรัฐบาลญี่ปุ่นระยะที่ 2 (KU-JICA Phase II)   ปี  พ.ศ. 2530 – 2535 (ต่อถึงปี  พ.ศ. 2537) (จำนวน 415,000 บาท)

28.  Disease incidence and management of tissue culture derived sugarcane plant

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากโครงการภายใต้ความร่วมมือเพื่อพัฒนางานวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และรัฐบาลออสเตรเลีย (KU-ACNARP) ปี พ.ศ. 2528-2532      (จำนวน 496,946 บาท)

29.  โรคฝ้ายและการบริหารโรค :  การควบคุมโรคฝ้ายที่เกิดจากเชื้อราและแบคทีเรีย

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี พ.ศ. 2528 – 2535 (จำนวน 425,000 บาท)

30.  นิเวศวิทยาและการควบคุมเชื้อสาเหตุโรคพืชโดยชีววิธี

ทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2528-2531 (จำนวน 323,000 บาท)