รางวัล

ผลงานวิจัยที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณและรางวัล


1.  รางวัลชมเชย ภาคโปสเตอร์ ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 10 เมื่อวันที่ 18-20 พฤษภาคม 2554 เรื่อง “ประสิทธิภาพของเชื้อราไตรโคเดอร์มาและเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัสปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนผลองุ่น”

2.  รางวัล Poster Popular Vote อันดับ 2 ใน การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติครั้งปฐมฤกษ์ “ขับเคลื่อนงานวิจัยข้าวไทยสู่นวัตกรรม” เมื่อวันที่ 15-17 ธันวาคม 2553 เรื่อง “การใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาปฏิปักษ์เพื่อลดโรคเมล็ดด่าง เพิ่มผลผลิต และประสิทธิภาพการขัดสีของข้าว”

3.  อาจารย์ดีเด่นด้านบริการวิชาการ ประจำปีการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน (มอบให้ในโอกาสงานสถาปนา 30 ปี วิทยาเขตกำแพงแสน 12 พ.ย. 52)

4.  รางวัล Bronze Poster Presentation Award ใน The International Symposium Go..organics 2009 The Approach of Organic Agriculture : New Markets, Food Security and a Clean Environment เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2552 เรื่อง Efficacy of antagonistic microorganisms from bamboo leaf compost and liquid fermented bioextract for the control of dirty panicle of rice caused by Curvularia lunata

5.  รางวัลชมเชย สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45 พ.ศ. 2551 โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2551 เรื่อง “รายงานมูลสัตว์ และการเป็นปฏิปักษ์ของเชื้อรา Sordaria fimicola ต่อเชื้อราสาเหตุโรคพืชในห้องปฏิบัติการ”

6.  รางวัลชมเชย สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2548 เรื่อง “ประสิทธิภาพของสารกรองและสารแขวนลอยของเชื้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum

7.  รางวัลคาวากุชิ ผลงานวิจัยดีเด่น สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2548 เรื่อง “ประสิทธิภาพของเชื้อรา Pythium oligandrum ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศสาเหตุจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum

8.  รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2548 เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2548 เรื่อง “ประสิทธิภาพของเชื้อรา Pythium oligandrum ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศสาเหตุจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum

9.  รางวัลชมเชย สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42 พ.ศ. 2548  โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์  2548  เรื่อง  “การคัดเลือกจุลินทรีย์ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนใบของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้”

10.  รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น อันดับที่ 3 ภาคแผ่นภาพ ในการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 6 24-27 พฤศจิกายน 2546 จังหวัดขอนแก่น เรื่อง”การควบคุมโรคเน่าดำของกล้วยไม้โดยชีววิธี”

11.  รางวัลผลงานวิจัยดี  สาขาพืช  ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ครั้งที่ 40 พ.ศ. 2545  โดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   เมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์  2546  เรื่อง  “การผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดด้วยเทคนิคอย่างง่ายเพื่อใช้ควบคุมโรคเน่าระดับดินของถั่วฝักยาวที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii

12.  รางวัลผลงานวิจัยดีเยี่ยม ประจำปี พ.ศ. 2542 โดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ                  เมื่อวันที่ 27 กันยายน  2542 เรื่อง “การใช้นิวเคลียร์เทคนิคพัฒนากากตะกอนไปเป็นทรัพยากรใหม่”

13.  รางวัลนักวิจัยดีเด่น  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  สาขาเกษตรศาสตร์  ในวาระครบรอบการสถาปนา ปีที่ 20 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ให้ไว้ ณ วันที่  2 ตุลาคม พ.ศ. 2541

14.  รางวัลชมเชย จากการประกวดผลงานประดิษฐ์คิดค้นประเภททั่วไป ประจำปีพ.ศ. 2541 จัดโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2541 เรื่อง "ชีวภัณฑ์ไตร-โคเดอร์มา : ผลิตภัณฑ์ควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคพืช"

15.  รางวัลชมเชย ภาคโปสเตอร์ด้านการนำเสนอผลงาน ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 31 พ.ศ. 2536  เรื่อง "เชื้อรา Pythium  spp. ที่แยกได้จากดินปลูกจากเมล็ดและรากของถั่วเหลืองฝักสดที่แสดงอาการเมล็ด  และรากเน่า"

16.  รางวัลที่ 3 ภาคโปสเตอร์ด้านการนำเสนอผลงาน ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 30 พ.ศ. 2535 เรื่อง "การคัดเลือกจุลินทรีย์เพื่อควบคุมโรครากเน่าของ    กิ่งตอนส้มเขียวหวานโดยชีววิธี"

17.  รางวัลผลงานวิจัยดีเด่น สาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ครั้งที่ 29 พ.ศ. 2534  เรื่อง "การควบคุมโรคต้นแห้งของข้าวบาร์เลย์  โดยวิธีคลุกเมล็ดด้วยผงมวลชีวภาพของเชื้อรา Trichoderma harzianum"

18.  รางวัลงานวิจัยดีเด่น (Kawaguchi's Award)  ของงานประชุมวิชาการเทคนิคของวิธีการทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2533  เรื่อง "การผลิตและการทดสอบคุณภาพของเชื้อรา Trichoderma harzianum"

19.  ประกาศเกียรติคุณยกย่องผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ในวารสารวิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สาขาวิทยาศาสตร์) ฉบับพิเศษ พ.ศ. 2531 (Harada's  Award) จากโครงการความร่วมมือเพื่อพัฒนาการวิจัยระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  และรัฐบาลญี่ปุ่น (KU-JICA) เรื่อง "In  vitro screening for effective  antagonists of Sclerotium  rolfsii  Sacc., a  causal agent of tomato stem rot"

20.  รางวัลชมเชยสาขาพืช ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  ครั้งที่ 26 พ.ศ. 2531 เรื่อง "การควบคุมโรคเน่าระดับดินไรซ๊อคโทเนียของฝ้าย โดยวิธีคลุกเมล็ดด้วยจุลินทรีย์"

21.  รางวัลที่ 3 ภาคโปสเตอร์ด้านการประกวดการเสนอผลงาน ในการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 25 พ.ศ. 2530 เรื่อง "การควบคุมโรคโคนเน่าของมะเขือเทศ (Sclerotium rolfsii)  โดยจุลินทรีย์จากดินเกษตรกรรม"