ผลงานตีพิมพ์

1.  จุฑารัตน์ เพชรแก้ว จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และกิตติพงศ์ ตรีตรุยานนท์. 2554. ประสิทธิภาพของเชื้อราไตรโคเดอร์มาและเชื้อแบคทีเรียบาซิลลัสปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนผลองุ่น ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10 18-20 พฤษภาคม 2554. โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพ ฯ.  (ภาคโปสเตอร์)

2.  จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และพราวมาส เจริญรักษ์. 2553. การใช้เชื้อราไตรโค-   เดอร์มาปฏิปักษ์เพื่อลดโรคเมล็ดด่าง เพิ่มผลผลิต และประสิทธิภาพการขัดสีของข้าว ใน การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติครั้งปฐมฤกษ์ “ขับเคลื่อนงานวิจัยข้าวไทยสู่นวัตกรรม” 15-17 ธันวาคม 2553. อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน, กรุงเทพ ฯ. (ภาคโปสเตอร์)

3.  จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และพราวมาส เจริญรักษ์. 2553. ประสิทธิภาพของการใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาปฏิปักษ์ร่วมกับปุ๋ยเคมีระดับต่าง ๆ ในการเพิ่มผลผลิตและคุณภาพของข้าว ใน การประชุมวิชาการข้าวแห่งชาติครั้งปฐมฤกษ์ “ขับเคลื่อนงานวิจัยข้าวไทยสู่นวัตกรรม” 15-17 ธันวาคม 2553. อาคารสารนิเทศ 50 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน, กรุงเทพ ฯ.

4.  Eamvijarn, A., Manoch, L., Visarathanonth, N.  and Chamswarng, C. 2010. In Vitro Efficacy of Neosartorya Species from Soil Aganst Plant Pathogenic fungi, The 5th Thai Mycological Conference and Annual Meeting of Mycological Association (TMA) 7 December 2010. Bangkok, Thailand

5.  Kokaew, J., Manoch, L., Visarathanonth, N., Singbooraudom, N., Strobel, G., Chamswarng, C. and Piasai, O. 2010.Diversity on Endophytic Fungi from Khao Yai and Mu Ko Similan National Parks and Antagonistic Tests Against Plant Pathogenic Fungi In Vitro, The 5th Thai Mycological Conference and Annual Meeting of Mycological Association (TMA) 7 December 2010. Bangkok, Thailand

6.  Sasnarukkit, A., Chamswarng, C., Sukhakul, S., Pongpisutta, R. and Piasai, O. 2010. Pathogenicity of Trichoderma spp. on Eggs and Infective Juveniles of Meloidogyne incognita, The 5th Thai Mycological Conference and Annual Meeting of Mycological Association (TMA) 7 December 2010. Bangkok, Thailand

7.  Saetang, N. and Chamswarng, C. 2010 Controlling Sheath Blight of Rice Caused Rhizoctonia solani by Using Antagonistic Bacteria, The 5th Thai Mycological Conference and Annual Meeting of Mycological Association (TMA) 7 December 2010. Bangkok, Thailand

8.  Charoenrak, P. and Chamswarng, C. 2010. Efficacy of Tricoderma harzianum for the Reduction of Bakanae Disease on Rice Seedlings, The 5th Thai Mycological Conference and Annual Meeting of Mycological Association (TMA) 7 December 2010. Bangkok, Thailand

9.  Petchkeaw, J., Chamswarng, C. and Intanoo, W. 2010. Efficacy of Trichoderma harzianum for the Control of Bitter Rot on Fruits of Grape Caused by Greeneria uvicola,  The 5th Thai Mycological Conference and Annual Meeting of Mycological Association (TMA) 7 December 2010. Bangkok, Thailand

10.  เพ็ญภัค เสาวภาคย์ จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2553. ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียที่เจริญครอบครองรากในการควบคุมโรครากเน่าผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดร-โพนิกส์แบบ NFT ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum. ว. วิทย.กษ. 41(3):457-470.

11.  เพชรพิกุล วางมูล จิระเดช แจ่มสว่าง และจินตนา อันอาตม์งาม. 2553.ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียย่อยไคตินในการเพิ่มผลผลิตและชักนำให้ต้นข้าวต้านทานโรคกาบใบแห้งสาเหตุจาก  เชื้อรา Rhizoctonia solani. ว. วิทย.กษ.  41(3):351-360.

12.  Chamswarng, C., Intanoo, W., Intana, W., Boonradkwang, C. and Charoenrak, P. 2010. Efficacy of Extract from Trichoderma harzianum Strain PM9 to Control Anthracnose of Mango and Chili Fruits Disease Caused by Colletotrichum gloeosporioides. In ISSAAS 2009 "Agriculture for Better Living and Global Economy"". 11-15 January 2010, Nong Nooch Tropical Botanical Garden & Resort, Pattaya, Thailand.

13.  Chamswarng, C., Intanoo, W. and Intana, W. 2010. Efficacy of Trichoderma harzianum Isolated from Bamboo Leaf Compost for Yield Improvement, Sheath Rot and Dirty Panicle Reduction in Rice In ISSAAS 2009 "Agriculture for Better Living and Global Economy". 11-15 January 2010, Nong Nooch Tropical Botanical Garden & Resort, Pattaya, Thailand.

14.  อรรถกร พรมวี สมชาย ชคตระการ วาริน อินทนา  และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2553. การเพิ่มการเจริญเติบโตและผลผลิตของคะน้าด้วยเชื้อรา Trichoderma spp. ซึ่งแยกได้จากดินขุยไผ่สายพันธุ์ดั้งเดิมและสายพันธุ์ที่ผ่านการฉายรังสี UV. ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 9: พัฒนาพืชสวนไทยเพื่อไทยเข้มแข็ง (น. 42). โรงแรมกรุงศรีริเวอร์, พระนครศรีอยุธยา.

15.  วราภรณ์ บุญเกิด  จิระเดช แจ่มสว่าง สุดฤดี ประเทืองวงศ์  สุพจน์ กาเซ็ม และจีรนันท์         แหยมสูงเนิน. 2553. ประสิทธิภาพของ Trichoderma  harzianum  ต่อการลดปริมาณเชื้อรา Aspergillus sp. ในแปลงปลูกข้าวโพดโดยชีววิธี ใน การประชุมเชิงปฏิบัติการโครงการวิจัยแม่บทข้าวโพดและข้าวฟ่าง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 4 17-19 มิถุนายน 2553 ณ โรงแรมลพบุรีอินน์ รีสอร์ท จ.ลพบุรี

16.  Sattasakulchai, S., Intana, W., Chamswarng, C., Issarakrasila, M. and Maneepong, S. 2009. Efficacy of indigenous microorganisms for the control of rice sheath rot disease caused by Sarocladium oryzae The International Symposium Go…Organic 2009 The Approach of Organic Agriculture : New Markets, Food Security and a Clean Environment. 19-21 August 2009, Pullman Bangkok King Power Hotel. Bangkok, Thailand.

17.  Suwanno, C., Intana, W., Sattasakulchai, S., Yenjit, P., and Chamswarng, C. 2009. Efficacy of plant extract for controlling anthracnose disease on chili caused by Colletotrichum capsici. In The International Symposium Go…Organic 2009 The Approach of Organic Agriculture : New Markets, Food Security and a Clean Environment. 19-21 August 2009, Pullman Bangkok King Power Hotel. Bangkok, Thailand.

18.  Intana, W., Sattasakulchai, S., Suwanno, C., Yenjit, P., and Chamswarng, C. 2009. Bacillus licheniformis and its antifungal metabolite provide high levels of control of durian (Durio zibethinus) root rot disease (Phytophthora palmivora L.). In The International Symposium Go…Organic 2009 The Approach of Organic Agriculture : New Markets, Food Security and a Clean Environment19-21 August 2009, Pullman Bangkok King Power Hotel. Bangkok, Thailand.

19.  Chamswarng, C., Watcharaburapanun, C. and  Charenrak, P. 2009. Effects of antagonistic microorganisms on seedling growth and dirty panicle pathogens of rice. In The International Symposium Go…Organic 2009 The Approach of Organic Agriculture : New Markets, Food Security and a Clean Environment. 19-21 August 2009, Pullman Bangkok King Power Hotel. Bangkok, Thailand.

20.  Chamswarng, C. and Amnuayjitilert., N. 2009. Efficacy of antagonistic microorganisms from bamboo leaf compost and liquid fermented bioextract for the control of dirty panicle of rice caused by Curvularia lunata. In The International Symposium Go…Organic 2009 The Approach of Organic Agriculture : New Markets, Food Security and a Clean Environment. 19-21 August 2009, Pullman Bangkok King Power Hotel. Bangkok, Thailand.

21.  Intana, W., Chamswarng, C., Ngamriabsakul C. and Chantrapromma K. 2009. The increased efficacy of tangerine root rot control by mutant strains of Trichoderma harzianum against tangerine root rot. PHILIPP AGRIC SCIENTIST. 92 (1):39-45.

22.  Chamswarng, C., Intanoo, W. and Intana, W. 2009. Efficacy of Trichoderma harzianum derived from fermented bamboo leaf compost for the control of blast and sheath rot on rice. น. 75  ใน บทคัดย่อ การเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ การประชุมนักวิจัยรุ่นใหม่พบเมธีวิจัยอาวุโส สกว. ครั้งที่ 9  15-17 ตุลาคม 2552 โรงแรมฮอลิเดย์อินน์ รีสอร์ท รีเจนท์ บีช ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี

23.  อารีรัตน์ เทียนขาว จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และดำเนิน อุ่นศิริ. 2552. ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบจุดคอรีนีสปอราของผักกาดหอมที่ปลูกในวัสดุไร้ดิน ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

24.  วรรณวิไล อินทนู และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2552. ประสิทธิภาพของสูตรสำเร็จแบคทีเรียปฏิปักษ์ชนิดผง ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของผลพริก ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

25.  เพ็ญภัค เสาวภาคย์ จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2552. ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดร โพนิกส์ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

26.  เพชรพิกุล วางมูล จิระเดช แจ่มสว่าง และจินตนา อันอาตม์งาม. 2552. ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียที่ย่อยไคตินในการชักนำการสร้างเอนไซม์ไคติเนสในต้นข้าว ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

27.  พิชัย มณีโชติ ถวัลย์ คุ้มช้าง วานิช ทองนาเพียง และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2552. ประสิทธิภาพของสารแคลเซียมฟอสโฟเนต (Calcium phosphonate)ในการควบคุมเชื้อรา Phytophthora parasitica ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี. (ภาคโปสเตอร์)

28.  พราวมาส เจริญรักษ์ จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2552. การคัดเลือกเชื้อรา Trichoderma harzianum ที่มีประสิทธิภาพสูงในการยับยั้งการเจริญของเชื้อราสาเหตุโรคเมล็ดด่างและ เจริญครอบครองรากกล้าข้าวได้ดี ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

29.  นิชากร แซ่ตั้ง จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2552. การคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียปฏิปักษ์ในการลดโรคเมล็ดด่างของข้าว ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

30.  ธรรมศาสตร์ จันทรัตน์ จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2552. ประสิทธิภาพของสูตรสำเร็จแบคทีเรียปฏิปักษ์ชนิดผง ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของผลพริก ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

31.  จุฑารัตน์ เพชรแก้ว จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู พราวมาส เจริญรักษ์ และกิตติพงศ์        ตรีตรุยานนท์. 2552. ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการยับยั้งโรคแอนแทรคโนสบนผลองุ่น ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 9: อารักขาพืชไทย เทิดไท้องค์ภูมี ตามวิถีเศรษฐกิจพอเพียง 24-26 พฤศจิกายน 2552.   โรงแรมสุนีย์ แกรนด์ จังหวัดอุบลราชธานี.

32.  ไก่แก้ว สุธรรมมา กรรณิการ์ สัจจาพันธ์ จิระเดช แจ่มสว่าง Kasuo Suyama และนิพนธ์ ทวีชัย. 2552. การควบคุมโรคเหี่ยวจากแบคทีเรียของมะเขือเทศด้วยแบคทีเรียปฏิปักษ์และซิลิกอนในสภาพโรงเรือน  ว. วิทย.กษ.  40(2):293-300.

33.  จิตติมา เอื้องกิตติกุล วรรณวิไล อินทนู จิระเดช แจ่มสว่าง และกนกวรรณ รมยานนท์. 2552. การโคลนยีน chi42 ที่ควบคุมการสร้างเอนไซม์ไคติเนสจากเชื้อรา Trichoderma harzianum ในยีสต์ Pichia pastoris เพื่อการผลิตรีคอมบิแนนท์เอนไซม์ ว. วิทย.กษ.  40(3):427-438.

34.  Manoch, L., Piasai, O., Dethoup, T. Kokaew,. Aiumwijarn, A., Visarathanonth, N. and Chamswarng, C. 2008. Biological control of  plant pathogenic fungi using Talaromyces flavus, Sordaria fimicola and some endophytic fungi, Phytopathology 98 (6) : 97-97.

35.  Intana, W., Yenjit, P., Suwanno, T., Sattasakulchai,S., Suwanno, M. and Chamswarng, C. 2008. Efficacy of Antifungal Metabolites of Bacillus spp. for Controlling Tomato Damping-off Caused by Pythium aphanidermatum. Walailak J Sci & Tech. 5(1): 29-38.

36.  Intana, W. Chamswarng, C., Chantrapromma, K., Yenjit, P., Suwanno, C. and Sattasakulchai., S. 2008. Use of Pentyl Pyrone Extracted from Ultraviolet-induced Mutant Strain of Trichoderma harzianum for Control Leaf Spot of Chinese-kale. Thai Journal of Agricultural Science. 41(3-4): 75-80.

37.  อรรถกร พรมวี สมชาย ชคตระการ และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2551. การใช้เชื้อรา Trichoderma spp. หลายสายพันธุ์ร่วมกันในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของปอโมโรเฮยะ, การประชุมวิชาการ      พืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 7 “ พืชสวนไทยใต้ร่มพระบารมี ” 26-30 พฤษภาคม 2551 โรงแรม           อัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

38.  วราภรณ์ บุญเกิด  จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และกรุง สีตะธนี. 2551. การใช้เชื้อรา Trichoderma harzianum ร่วมกับเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp. ควบคุมโรคแอนแทรคโนสของพริกในสภาพแปลง. ว. วิทย.กษ.  39 (2): 215-224.

39.  Intana, W. and Chamswarng, C. 2007. Control of Chinese-kale damping-off caused by Pythium aphanidermatum by antifungal metabolites of Trichoderma virens Songklanakarin J. Sci. Technol., 29(4): 919-927.

40.  Jeamjitt, O., Manoch, L., Visarathanonth, N., Chamswarng, C. 2007. Light and Scanning Electron Microscopy Studies of Corprophilous  Pyrenomycetes and Discomycetes, Journal of Microscopy Society of Thailand 21 (1):148-150.

41.  Dethoup, T., Manoch, L., Visarathanonth, N., Chamswarng, C., Chawpongpang, S. and  Kijjoa, A. Morphological Study on Talaromyces species from soil in Thailand, Journal of Microscopy Society of Thailand 21 (1):(2007) 43-44.

42.  Piasai, O., Manoch, L. Visarathanonth, N. Chamswarng, C., Watling,  R, Sharples, GP, and Kijjoa, A. 2007. Coprophilous ascomycetes in Thailand", Mycotaxon 100:115-136.

43.  อมรศรี ขุนอินทร์ สมชาย สุขะกูล จิระเดช แจ่มสว่าง และประภาพร ตั้งกิจโชติ .2550. อิทธิพลของเห็ดนางรมฮังการีและเห็ดหอมในการควบคุมโรครากปมของมะเขือเทศและฝรั่ง. วิทยาสารกำแพงแสน 5(1):8-15.

44.  อารีรัตน์ เทียนขาว  วรรณวิไล อินทนู และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2550. ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคเน่าแห้งของกล้วยไม้สกุลออนซิเดียมที่เกิดจากเชื้อรา Crepidotus sp. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550.   โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

45.  วราภรณ์ บุญเกิด  จิระเดช แจ่มสว่าง  และวรรณวิไล อินทนู. 2550. การใช้เชื้อรา Trichoderma harzianum ร่วมกับเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp. เพื่อยับยั้งโรคแอนแทรคโนสของพริกในสภาพเรือนทดลอง. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

46.  วรรณวิไล อินทนู  และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2550. ประสิทธิภาพของแบคทีเรียปฏิปักษ์สูตรสำเร็จต่างๆ ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนผลพริก. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

47.  เพ็ญภัค เสาวภาคย์  จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2550. ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรียที่เจริญครอบครองรากผักกาดหอมในการยับยั้งการเจริญของเส้นใย และการเข้าทำลายเมล็ดผักกาดหอมของเชื้อรา Pythium aphanidermatum. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์-   ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

48.  เพชรพิกุล วางมูล  จิระเดช แจ่มสว่าง และจินตนา อันอาตม์งาม. 2550. อิทธิพลของเชื้อแบคทีเรียที่ย่อย  ไคตินต่อการเจริญของเชื้อรา Rhizoctonia solani สาเหตุโรคกาบใบแห้งของข้าว การงอก และการเจริญครอบครองรากของกล้าข้าว. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

49.  พราวมาส เจริญรักษ์  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู  และปราโมทย์ สฤษดิ์นิรันดร์. 2550. การใช้   จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ควบคุมโรคราใบดำของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อรา Pseudocercospora fuligena ในสภาพเรือนปลูกพืชทดลอง. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

50.  ชมพูนุท บุญราชแขวง  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู  และวิชชุพร จันทร์ศรี. 2550. สารทุติยภูมิจากเชื้อรา Trichoderma harzianum ที่เจริญในอาหารเหลวและอาหารแข็งต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides สาเหตุโรคแอนแทรคโนสบนผลพริก. วิทยาศาสตร์เกษตร ว. วิทย.กษ.  38 (4) : 363-372.

51.  ชมพูนุท บุญราชแขวง  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู  และวิชชุพร จันทร์ศรี. 2550. ประสิทธิภาพของสารทุติยภูมิจากเชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์ PM9 ต่อการยับยั้งการเจริญของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides และการควบคุมโรคแอนแทรคโนสของพริก. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

52.  ขวัญเนตร หินอ่อน  วรรณวิไล อินทนู  จิระเดช แจ่มสว่าง และวิชชุพร จันทร์ศรี. 2550. การควบคุมโรครากเน่าที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum และการชักนำความต้านทานต่อโรคราใบดำของมะเขือเทศสาเหตุจากเชื้อรา Pseudocercospora fuligena ด้วยเชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์ T50. วิทยาศาสตร์เกษตร ว. วิทย. กษ. 38(5):449-456.

53.  ขวัญเนตร หินอ่อน  วรรณวิไล อินทนู  จิระเดช แจ่มสว่าง และวิชชุพร จันทร์ศรี. 2550. การชักนำให้ มะเขือเทศต้านทานต่อการเกิดโรคราใบดำสาเหตุจากเชื้อรา Pseudocercospora fuligena โดยเชื้อรา Trichoderma harzianum ภายใต้สภาพเรือนทดลอง. ใน รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์-   ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

54.  กรพินธุ์ ทนกล้า  จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2550. ประสิทธิภาพของจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคใบปื้นเหลืองของกล้วยไม้สกุลหวายสาเหตุจากเชื้อรา Pseudocercospora dendrobii. ใน  รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรมอัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

55.  จิระเดช แจ่มสว่าง  และวรรณวิไล อินทนู. 2550. ประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์กลายที่ได้จากการฉายรังสีแกมมาในการลดโรคเมล็ดด่างและเพิ่มผลผลิตของข้าว. ใน  รายงานการประชุมอารักขาพืชแห่งชาติครั้งที่ 8: อารักขาพืชไทยใต้ร่มพระบารมี 20-22 พฤศจิกายน 2550. โรงแรม   อัมรินทร์ลากูน จังหวัดพิษณุโลก.

56.  Piasai, O., Manoch, L., Visarathanonth, N., Chamswarng, C. and Courtney, G.W. 2006. Diversity and Distribution of Hyphomycetes from Dung in Thailand. Kasetsart Journal (Natural Science) 40(4) : 890-901.

57.  Chakhatrakan, S., Promwee, A., Intana, W.  and Chamswarng, C. (2006). The effects of Trichoderma harzianum strain CB-Pin-01 fresh culture for growth promotion of vegetable amaranth. In The 13th Tri-University International Joint Seminar and Symposium 2006 (pp. 146-149). Mie University, Japan.

58.  สมชาย ชคตระการ อรรถกร พรมวี วาริน อินทนา และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2549. ศักยภาพของ   เชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์ CB-Pin-01 ชนิดสดต่อการส่งเสริมการเจริญเติบโตของคะน้า น. 67 ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 6: สู่นวัตกรรมพืชสวนไทย            เพื่ออาหารปลอดภัยและเศรษฐกิจพอเพียง, เชียงใหม่.

59.  ศิรินทิพย์ แดงติ๊บ  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู และปราโมทย์ สฤษดิ์นิรันดร์. 2549. การใช้เชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในการควบคุมโรคลำต้นไหม้ของหน่อไม้ฝรั่งที่เกิดจากเชื้อรา Phomopsis asparagi Bubak ในสภาพแปลงปลูก. วิทยาศาสตร์เกษตร 37(2):183-189.

60.  จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และณัฐยาน์ เปียแดง. 2549. การใช้รังสีแกมมาเพิ่มประสิทธิภาพของเชื้อราไตรโคเดอร์มาควบคุมโรคพืช น. 86-96. ใน เอกสารประกอบการประชุมเรื่อง การใช้รังสีพัฒนาเกษตรอินทรีย์เพื่ออาหารปลอดภัย สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ, 28-29 กันยายน 2549 โรงแรมริชมอนด์ นนทบุรี.

61.  อมรศรี ขุนอินทร์  สมชาย สุขะกูล  จิระเดช แจ่มสว่าง และประภาพร ตั้งกิจโชติ. 2548. ประสิทธิภาพของเชื้อเห็ดนางรมฮังการี (Pleurotus ostreatus) ที่มีผลต่อตัวอ่อนระยะที่ 2 ของไส้เดือนฝอยรากปม (Meloidogyne incognita), น. 170. ใน รายงานการประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติครั้งที่ 5. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, โรงแรมเวลคัมจอมเทียนบีช พัทยา, ชลบุรี.

62.  ทักษิณ สุวรรณโณ  วาริน อินทนา  มนตรี อิสรไกรศีล  ราตรี นิตยเดชพัฒน์  และจิระเดช แจ่มสว่าง.  2548. เพิ่มการเจริญเติบโตของถั่วฝักยาวโดยใช้ทุติยภูมิบริสุทธิ์จากเชื้อรา Trichoderma harzianum. วิทยาศาสตร์เกษตร (ฉบับพิเศษ) 36(5-6): 183-186.

63.  ทักษิณ สุวรรณโณ วาริน อินทนา และจิระเดช แจ่มสว่าง. 2548. การใช้สารต่อต้านเชื้อราจาก Trichoderma virens สำหรับควบคุมโรคใบจุดคะน้าที่เกิดจากเชื้อรา Alternaria brassicicola. Walailak J. Sci&Tech. 2(1):1-9.

64.  ศิรินทิพย์ แดงติ๊บ  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู และปราโมทย์ สฤษดิ์นิรันดร์. 2548. การคัดเลือกจุลินทรีย์ปฏิปักษ์ที่มีประสิทธิภาพในการควบคุมโรคลำต้นไหม้ของหน่อไม้ฝรั่งที่เกิดจากเชื้อรา Phomopsis asparagi Bubak. วิทยาศาสตร์เกษตร (ฉบับพิเศษ) 36(5-6):1211-1214.

65.  แพรทอง ละมุล  จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. 2548. การใช้เชื้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมเชื้อรา Pythium aphanidermatum สาเหตุโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์. วิทยาศาสตร์เกษตร (ฉบับพิเศษ). 36(5-6):1179-1182.

66.  ดวงใจ เสรีไพบูลย์ทรัพย์  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู และชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล. 2548. การชักนำความต้านทานต่อโรครากเน่าของแตงกวาที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum ด้วยเชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์ T50. วิทยาศาสตร์เกษตร 36:191-201.

67.  เคลือวัลย์ ดาวงษ์  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู  และรัชนี ฮงประยูร. 2548. การคัดเลือกสายพันธุ์กลายที่เป็น auxotroph และต้านทานต่อสารโพรพิโคนาโซลของเชื้อรา Trichoderma harzianum ซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อเชื้อรา Phytophthora parasitica ด้วยการฉายรังสีอัลตราไวโอเลท. วิทยาศาสตร์เกษตร 36:93-103.

68.  อารีรัตน์ เทียนขาว วรรณวิไล อินทนู  จิระเดช แจ่มสว่าง และกนกวรรณ รมยานนท์. 2848.  ประสิทธิภาพของสารกรองของเชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์ CB-Pin-01 และ T50 ในการยับยั้งเชื้อรา Curvularia eragrostidis สาเหตุโรคดอกจุดสนิมของกล้วยไม้สกุลหวาย. ใน  รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548 วิทยาสารกำแพงแสน  (ฉบับพิเศษ) 3:51-52.

69.  อัจฉราวรรณ ศรีสุข จิระเดช แจ่มสว่าง และวรรณวิไล อินทนู. 2548.ประสิทธิภาพของเชื้อราไตรโคเดอร์มาสายพันธุ์ต่างๆ ในการควบคุมโรคโคนเน่าของถั่วฝักยาวที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii. ใน  รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:4-5.

70.  อมรศรี  ขุนอินทร์  สมชาย  สุขะกูล  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และ  ประภาพร  ตั้งกิจโชติ. 2548. อิทธิพลของเห็ดนางรมฮังการีและเห็ดหอมในการควบคุมโรครากปมของมะเขือเทศและฝรั่ง. ใน  รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:2-3.

71.  ศิริพร  ดอนเหนือ  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และ วรรณวิไล  อินทนู. 2548.  อิทธิพลของระยะเวลาเก็บรักษาปุ๋ยหมักผสมเชื้อรา Trichoderma ต่อปริมาณประชากรของเชื้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของถั่วฝักยาวที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii. ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน  (ฉบับพิเศษ) 3:2-3.

72.  วราภรณ์ บุญเกิด  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และ วรรณวิไล  อินทนู . 2548. การใช้เชื้อรา Trichoderma harzianum ร่วมกับเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp. เพื่อป้องกันการเข้าทำลายผลพริกโดยเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides. ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:7-8.

73.  วรรณวิไล อินทนู   จิระเดช แจ่มสว่าง  และ น้ำตาล คุ้มตะโก. 2548. ประสิทธิภาพของเชื้อรา Pythium oligandrum ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศสาเหตุจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum. ใน  รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:61-62.

74.  แพรทอง ละมุล  จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู  และ ธรรมศักดิ์ ทองเกตุ.2548 .ประสิทธิภาพของ  เชื้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์ สาเหตุจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum. ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:11-12.

75.  พราวมาส  เจริญรักษ์   จิระเดช  แจ่มสว่าง   วรรณวิไล  อินทนู  และปราโมทย์  สฤษดิ์นิรันดร์. 2548. ประสิทธิภาพของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp. ในการยับยั้งการงอกของสปอร์ และการเจริญของเส้นใย  เชื้อราสาเหตุโรคราดำของใบมะเขือเทศ. ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:13-14.

76.  นิชากร  แซ่ตั้ง  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และวรรณวิไล  อินทนู. 2548.   ประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์กลายที่ผ่านการฉายรังสีแกมมาในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศ. ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:59-60.

77.  ชมพูนุท  บุญราชแขวง  จิระเดช  แจ่มสว่าง วรรณวิไล  อินทนู   และวิชชุพร  จันทร์ศรี. 2548. ประสิทธิภาพของสารกรองและสปอร์แขวนลอยของเชื้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum. ใน  รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:57-58.

78.  จิตติมา เอื้องกิตติกุล   วรรณวิไล อินทนู   และ จิระเดช แจ่มสว่าง . 2548. ศักยภาพของเชื้อราไตรโคเดอร์-มาในการกระตุ้นการเจริญของพริกและการควบคุมโรคต่างๆบนใบและผล. ใน  รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน  (ฉบับพิเศษ) 3:6.

79.  จตุพงษ์ ลี้ประเสริฐ  ขวัญเนตร หินอ่อน  วรรณวิไล อินทนู  และ จิระเดช แจ่มสว่าง. 2548.  การใช้ Trichoderma harzianum ใส่ลงในวัสดุปลูกเพื่อลดการเกิดโรคราดำของใบมะเขือเทศสาเหตุจากเชื้อรา Pseudocercospora fuligena. ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:63-64.

80.  กุลนที ศรีจันทร์อินทร์ และ จิระเดช แจ่มสว่าง. 2548.  อิทธิพลของเชื้อรา Trichoderma harzianum และเชื้อแบคทีเรีย Bacillus cereus ต่อการเกิดโรคแคงเกอร์ของมะนาวที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย  Xanthomonas campestris pv. citriใน  รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:9-10.

81.  กรพินธุ์ ทนกล้า  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และวรรณวิไล  อินทนู. 2548. ประสิทธิภาพของสารกรองจากเชื้อรา Trichoderma spp. และเซลล์แขวนลอยหรือสารกรองของเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp. ในการยับยั้งการงอกและการเจริญของเส้นใยของเชื้อรา Pseudocercospora dendrobii สาเหตุ  โรคใบปื้นเหลืองของกล้วยไม้สกุลหวาย.ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 2. 7-8 ธันวาคม 2548, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 3:15-16.

82.  อารีรัตน์ เทียนขาว วรรณวิไล อินทนู จิระเดช แจ่มสว่าง และกนกวรรณ รมยานนท์. 2548.      ประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma spp. ในการยับยั้งเชื้อรา Curvularia eragrostidis และลดการเกิดโรคดอกจุดสนิมของกล้วยไม้สกุลหวาย. ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช  เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

83.  วราภรณ์ บุญเกิด จิระเดช  แจ่มสว่าง และวรรณวิไล  อินทนู. 2548. การใช้เชื้อรา Trichoderma harzianum ร่วมกับเชื้อแบคทีเรีย Bacillus spp. ในรูปเชื้อสดและสารกรองเพื่อลดการเกิดโรคแอนแทรคโนสของผลพริก.  ใน  รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 :  อารักขาพืช เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

84.  วรรณวิไล อินทนู   จิระเดช แจ่มสว่าง  และจิรัสสา มีกลิ่นหอม. 2548.  การควบคุมโรคแอนแทรคโนสของพริกด้วยการใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ในสภาพแปลง. ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช  เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

85.  แพรทอง ละมุล  จิระเดช แจ่มสว่าง วรรณวิไล อินทนู และธรรมศักดิ์ ทองเกตุ. 2548. อิทธิพลของการปรับค่าสารละลายธาตุอาหารต่อประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma harzianum ในการควบคุมโรครากเน่าของผักกาดหอมที่ปลูกในระบบไฮโดรโพนิกส์. ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช  เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรมโลตัส ปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

86.  พราวมาส  เจริญรักษ์  จิระเดช  แจ่มสว่าง  วรรณวิไล  อินทนู และปราโมทย์  สฤษดิ์นิรันดร์. 2548. การใช้แบคทีเรีย Bacillus spp. ฉีดพ่นใบมะเขือเทศเพื่อลดการเกิดโรคราดำ (Pseudocercospora fuligena) ภายใต้สภาพเรือนพลาสติก.  ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช  เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

87.  ถวัลย์  คุ้มช้าง  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และวรรณวิไล  อินทนู. 2548. การทดสอบประสิทธิภาพของเชื้อรา Trichoderma harzianum สายพันธุ์ CB-Pin-01 ชนิดผงในการป้องกันกำจัดโรครากและโคนเน่าพริกสาเหตุจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii Sacc. . ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช  เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548.  โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

88.  ชมพูนุท บุญราชแขวง  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล อินทนู  และวิชชุพร จันทรศรี. 2548. ประสิทธิภาพของสารสกัดจากเชื้อรา Trichoderma harzianum ในการยับยั้งเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides และลดการเกิดโรคแอนแทรคโนสของพริก. ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช  เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรม โลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

89.  ขวัญเนตร หินอ่อน  วรรณวิไล อินทนู จิระเดช แจ่มสว่าง และวิชชุพร จันทร์ศรี. 2548 .  การฉีดพ่นเชื้อรา Trichoderma harzianum เพื่อลดการเกิดโรคราดำของใบมะเขือเทศ ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Pseudocercospora fuligena ภายใต้สภาพเรือนพลาสติก. ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช  เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

90.  จิระเดช แจ่มสว่าง  วรรณวิไล  อินทนู และสริตา ภาคพิเศษ. 2548. การใช้เชื้อรา Trichoderma harzianum และ Bacillus sp. เพื่อเพิ่มผลผลิตของข้าวและลดโรคกาบใบแห้ง และโรคเมล็ดด่างของข้าว. ใน  รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 7 : อารักขาพืช เพื่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม. 2-4 พฤศจิกายน 2548. โรงแรมโลตัสปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่.

91.  Intana, W., C. Chamswarng and T. Suwanno. 2004. Efficacy of Secondary Metabolite from Trichoderma virens for Controlling Leaf Spot of Chinese Kale Caused by Alternaria lunata.pp. 80-81. In The 1st KU-Kamphaengsaen Conferences 2004 (Abstracts). 7-9 December, 2004. Nakhon Pathom, Thailand.

92.  Chamswarng, C., W.Intanoo and S. Kuruhongsa. 2004. Biological Control of Okra damping-off Caused by Rhizoctonia solani by Using Trichoderma virens. pp. 62-63. In The 1st KU-Kamphaengsaen Conferences 2004 (Abstracts). 7-9 December, 2004. Nakhon Pathom, Thailand.

93.  Ridthaisong, W., W. Intanoo, C. Chamswarng and C. Hongprayoon. 2004. Integrated Control of Pythium Damping-off and Root Ror of Tomato with Trichoderma spp. and Calcium Chloride or Silicon. pp. 60-61. In The 1st KU-Kamphaengsaen Conferences 2004 (Abstracts). 7-9 December, 2004. Nakhon Pathom, Thailand.

94.  Dangtip, S., C. Chamswarng and W. Intanoo. 2004. The Effect of Trichoderma harzianum Rifai on the survival of Phomopsis asparagi Bubak in Asparagus Debris. pp. 56-57. In The 1st KU-Kamphaengsaen Conferences 2004 (Abstracts). 7-9 December, 2004. Nakhon Pathom, Thailand.

95.  Intanoo, W., C. Chamswarng and T. Sittha. 2004. Efficacy of Antagonistic Bacteria Mutants for Control of Anthracnose of Chilli Fruits, Caused by Colletotrichum capsici (Syd.) Butl. & Bisby. pp.54-55. In The 1st KU-Kamphaengsaen Conferences 2004 (Abstracts). 7-9 December, 2004. Nakhon Pathom, Thailand.

96.  Charoenrak, P., C. Chamswarng and W. Intanoo. 2004. Efficacy of Epiphytic Microorganisms from Tomato Leaf for Control of Early Blight on Tomato Caused by Alternaria solani. pp. 50-51. In The 1st KU-Kamphaengsaen Conferences 2004 (Abstracts). 7-9 December, 2004. Nakhon Pathom, Thailand.

97. Thieankhao, A., C. Chamswarng and W. Intanoo. 2004. Efficacy of Manure Composts Mixed with Trichoderma harzianum for the Control of Stem Rot of Tomato Caused by Sclerotium rolfsii. (Poster). p.198. In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

98.  Thepkhuan, C., C. Chamswarng, W. Intanoo and P. Charoenrak. Efficacy of Gliocladium virens and Trichoderma spp. for the growth inhibition of Pythium aphanidermatum and Sclerotium rolfisii and their application for control of damping-off disease. (Poster). p.197. In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

99.  Srikirin, C., C. Chamswarng, W. Intanoo and C. Boonratkwang. 2004. Efficacy of Trichoderma harzianum (M23) for Control of Asparagus Stem Blight Caused by Phomopsis asparagi. (Poster). p.188. In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

100.  Intanoo, W., C. Chamswarng, N. Kuisup and P. Yenjit. 2004. Screening and Application of Phylloplane yeasts to Control Anthracnose of Mango. (Poster). p.153. In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

101.  Lamool P., C. Chamswarng, and W. Intanoo. 2004. Efficacy of Trichoderma harzianum for the control of lettuce root rot caused by Pythium aphanidermatum in hydroponic culture. p.131 In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

102.  Ridthaisong, W., W. Intanoo, C. Chamswarng and C. Hongprayoon. 2004. Control of Soilborne Diseases of Tomato Caused by Pythium spp. with Trichoderma harzianum and Soil Management. 2004. p.121 In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

103.   Davong, K., C. Chamswarng, W. Intanoo, R. Hongprayoon and W. Intana. 2004. Hybridization of the mutant strains of Trichoderma harzianum antagonize against Phytophthora parasitica by protoplast fusion. p. 106 In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

104.  Chamswarng, C., S. Keawyod and W. Intanoo. 2004. Efficacy of Trichoderma harzianum (M23) for the control of guava root rot caused by Phytophthora parasitica (Dastur.). p. 15. In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

105.  Dangtip, S., C. Chamswarng, W. Intanoo and P. Saridnirun. 2004. Application of Antagonistic Microorganisms for the Control of Stem Blight of Asparagus Caused by Phomopsis asparagi. p. 14. In The IV Asia Pacific Mycological Congress and The IX International Marine and Freshwater Mycology Symposium (Abstracts) 14-19 November, 2004. Chiang Mai, Thailand.

106.  วาริน อินทนา  จิระเดช แจ่มสว่าง และทักษิณ สุวรรณโณ. 2547. ประสิทธิภาพของสารทุติยภูมิที่สกัดได้จากเชื้อรา Trichoderma virens ในการควบคุมโรคใบจุดของคะน้าที่มีสาเหตุจากเชื้อ Alternaria brassicicola.ใน รายงานการประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 1. 7-9 ธันวาคม  2547, วิทยาสารกำแพงแสน (ฉบับพิเศษ) 2: 80-81.

107.  ประคอง เย็นจิตต์ วรรณวิไล  อินทนู  จิระเดช  แจ่มสว่าง   นิพนธ์ วิสารทานนท์ และวาริน อินทนา. 2547. การคัดเลือกจุลินทรีย์ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนใบของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้. น. 95-102 ใน รายงานการประชุมวิชาการครั้งที่ 42, 3-5 กุมภาพันธ์ 2547. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ.

109.  Intana, W., C. Chamswarng, W. Intanoo, C. Hongprayoon and K. Sivasithamparam. 2003. Use of mutant strains for improved efficacy of Trichoderma harzianum for controlling cucumber damping-off. Thai J. Agric. Sci. 36(4):429-439.

109.  Intana, W., C. Chamswarng, W. Intanoo, K. Sivasithamparam and C. Hongprayoon. 2003. Potential of Trichoderma harzianum isolates for growth promotion and biocontrol of damping-off of cucumber. Thai J. Agric. Sci. 36(3):305-318.

110.  จิรัสสา มีกลิ่นหอม วรรณวิไล อินทนู  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และวาริน อินทนา. 2546.  การคัดเลือกและการใช้จุลินทรีย์ที่แยกได้จากผิวพืชในการควบคุมเชื้อรา Colletotrichum spp. สาเหตุโรคแอนแทรคโนสของพริก. น.48 ใน  รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 6 : หนึ่งทศวรรษแห่งการอารักขาพืชในประเทศไทย. 24-27 พฤศจิกายน 2546. โรงแรมโซฟิเทล ราชาออคิด จังหวัดขอนแก่น.

111.  จิระเดช  แจ่มสว่าง   วรรณวิไล  อินทนู  ถวัลย์ คุ้มช้าง และวาริน อินทนา. 2546.  การควบคุมโรคเน่าระดับดินของมะเขือเทศที่เกิดจากเชื้อรา Pythium aphanidermatum โดยใช้เชื้อรา Trichoderma harzianum ชนิดสดคลุกเมล็ด และใส่วัสดุเพาะกล้า. น. 43 ใน รายงานการประชุมวิชาการอารักขาพืชแห่งชาติ ครั้งที่ 6 : หนึ่งทศวรรษแห่งการอารักขาพืชในประเทศไทย. 24-27 พฤศจิกายน 2546. โรงแรมโซฟิเทล ราชาออคิด จังหวัดขอนแก่น.

112.  Chamswarng, C., D. Sareepaiboonsab and W. Intanoo. 2002.  Efficacy of Gliocladium virens mutant strains for biocontrol of damping-off on yard-long bean caused by Sclerotium rolfsii. p. 174.  In Summary of Presentations at The First International Conference on Tropical and Subtropical Plant Diseases, November 5-8, 2002. The Imperial Mae Ping Hotel Chiang Mai, Thailand.

113.  Chatasiri, S., P. Pongarn, W. Intanoo and C. Chamswarng. 2002.  Molecular ldentification of Trichoderma harzianum Rifai. p. 126.  In Summary of Presentations at The First International Conference on Tropical and Subtropical Plant Diseases, November 5-8, 2002. The Imperial  Mae Ping Hotel Chiang Mai, Thailand.

114.  Pongarm, P., W. Intanoo and C. Chamswarng. 2002.  Use of RAPD technique to determine genetic variation of Gliocladium virens. p. 119.  In Summary of Presentations at The First International Conference on Tropical and Subtropical Plant Diseases, November 5-8, 2002. The Imperial Mae Ping Hotel Chiang Mai, Thailand.Pongarm, P., W. Intanoo and C. Chamswarng. 2002.  Use of RAPD technique to determine genetic variation of Gliocladium virens. p. 119.  In Summary of Presentations at The First International Conference on Tropical and Subtropical Plant Diseases, November 5-8, 2002. The Imperial Mae Ping Hotel Chiang Mai, Thailand.

115.  Intanoo, W., C. Chamswarng and W. Sutthisa. 2002.  Efficacy of epiphytic Bacillus spp. for biological control of chinese kale leaf spot caused by Alternaria brassicicola p. 38.  In Summary of Presentations at The First International Conference on Tropical and Subtropical Plant Diseases, November 5-8, 2002. The Imperial Mae Ping Hotel Chiang Mai, Thailand.

116.  Intana, W., C. Chamswarng, K. Sivasithamparam, E.L. Ghisalberti, and W. Intanoo. 2002.  Variation in the production of antifungal secondary metabolites by Trichoderma harzianum  mutants and wild type strains affect control of cucumber damping-off. p. 37.  In Summary of Presentations at The First International Conference on Tropical and Subtropical Plant Diseases, November 5-8, 2002. The Imperial Mae Ping Hotel Chiang Mai, Thailand.

117.  Chamswarng, C.,  W. Intanoo and T. Kumchang.  2002.  Integrated application of  Trichoderma harzianum  with improved compost and urea for  biocontrol of stem rot of chilli caused by Sclerotium rolfsii . p. 36.  In Summary of Presentations at The First International Conference on Tropical and Subtropical Plant Diseases, November 5-8, 2002. The Imperial Mae Ping Hotel Chiang Mai, Thailand.

118.  ประคอง เย็นจิตต์ วรรณวิไล  อินทนู จิระเดช  แจ่มสว่าง นิพนธ์ วิสารทานนท์ และวาริน อินทนา. 2547. การคัดเลือกจุลินทรีย์ในการควบคุมโรคแอนแทรคโนสบนใบของมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้. ใน การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 42. 3-5 กุมภาพันธ์ 2547. กรุงเทพฯ.

119.  วรรณวิไล  อินทนู และจิระเดช  แจ่มสว่าง. 2545. การคัดเลือกและการใช้จุลินทรีย์ที่แยกได้จากผิวพืชในการควบคุมเชื้อรา Alternaria brassicicola สาเหตุโรคใบจุดของคะน้า. ใน การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 40. 4-7 กุมภาพันธ์ 2545. กรุงเทพฯ.

120.  จิระเดช  แจ่มสว่าง  และวรรณวิไล  อินทนู. 2545. การผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสดด้วยเทคนิคอย่างง่ายเพื่อใช้ควบคุมโรคเน่าระดับดินของถั่วฝักยาวที่เกิดจากเชื้อรา Sclerotium rolfsii. ใน การประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 40. 4-7 กุมภาพันธ์ 2545. กรุงเทพฯ.